• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ปูนปั้น

บารมีคืออะไร? แล้วตอบว่า บารมีคือคุณธรรมทั้งหลาย มีทาน เป็นต้น กําหนดด้วยความเป็

Started by Posthizzt555, July 24, 2023, 11:45:52 AM

Previous topic - Next topic

Posthizzt555

      สร้างบุญบารมี บารมี ๑๐ ปฏิปทาอันยวดยิ่ง, คุณธรรมที่บารมีคืออะไร? แล้วตอบว่า บารมีคือคุณธรรมทั้งหลาย มีทาน เป็นต้น กําหนดด้วยความเป็นผู้ฉลาดในอุบาย คือ กรุณาอันตัณหา มานะและทิฏฐิไม่เข้าไปกําจัด" ประพฤติปฏิบัติอย่างยิ่งยวด ปฏิปทาอันยวดยิ่ง, คุณธรรมที่ประพฤติปฏิบัติอย่างยิ่งยวด คือ ความดีที่บําเพ็ญอย่างพิเศษ เพื่อบรรลุถึงจุดหมายอันสูง เช่น ความเป็นพระพุทธเจ้า และความเป็นมหาสาวก เป็นต้น
[list=1]
  • ทาน การให้ การเสียสละ[/*]
  • ศีล การรักษากายวาจาให้อยู่ในหลักความประพฤติที่เป็นแบบแผนแห่งภาวะของตน ความประพฤติดีงามถูกต้องตามระเบียบวินัย[/*]
  • เนกขัมมะ การออกบวช, ความปลีกตัวปลีกใจจากกาม[/*]
  • ปัญญา ความรอบรู้, ความหยั่งรู้เหตุผล เข้าใจสภาวะของสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง และรู้จักแก้ไขปฏิบัติจัดการต่างๆ[/*]
  • วิริยะ ความเพียร, ความแกล้วกล้า ไม่เกรงกลัวอุปสรรค พยายามบากบันอุตสาหะก้าวหน้าเรื่อยไป ไม่ทอดทิ้งธุระหน้าที่[/*]
  • ขันติ ความอดทน, ความทนทานของจิตใจ สามารถใช้สติปัญญาควบคุมตนให้อยู่ในอํานาจเหตุผล และแนวทางประพฤติหรือการปฏิบัติ ที่ตั้งไว้เพื่อจุดหมายอันชอบ ไม่ลุอํานาจกิเลส[/*]
  • สัจจะ ความจริง คือ พูดจริง ทําจริง และจริงใจ[/*]
  • อธิษฐาน ความตั้งใจมัน, การตัดสินใจเด็ดเดี่ยว วางจุดหมายแห่งการกระทําของตนไว้แน่นอนและดําเนินตามนั้นแน่วแน่[/*]
  • เมตตา ความรักใคร่, ความปรารถนาดี ไมตรี คิดเกือกูลให้ผู้อื่นและเพื่อนร่วมโลกทั้งปวง มีความสุขความเจริญ[/*]
  • อุเบกขา ความวางใจเป็นกลาง, ความวางใจสงบราบเรียบสม่ำเสมอ เที่ยงธรรม ในธรรม ไม่เอนเอียงหรือหวั่นไหวไปด้วยความยินดียินร้ายชอบชังหรือแรงเย้ายวนยั่วยุใดๆ[/*]
ที่มาแห่งสูตร
อรรถกถาตั้งคําถามว่า "บารมีคืออะไร?" แล้วตอบว่า "บารมีคือคุณธรรมทั้งหลาย มีทาน เป็นต้น กําหนดด้วยความเป็นผู้ฉลาดในอุบาย คือ กรุณาอันตัณหา มานะและทิฏฐิไม่เข้าไปกําจัด"
ชื่อว่า บารมี เพราะอรรถว่า พระโพธิสัตว์ผู้สูงกว่าสัตว์ทั่วไปด้วยคุณวิเศษ มีทานและศีลเป็นต้น บําเพ็ญ, ความเป็นหรือการกระทําของพระโพธิสัตว์ เป็นบารมี, กรรมมีการบําเพ็ญทานเป็นต้น ก็เป็นบารมี ชื่อว่า ปรม เพราะอรรถว่า บําเพ็ญ
บารมียอมขัดเกลาสัตว์อื่นให้หมดจดจากมลทินคือกิเลส หรือย่อมทําให้ถึงนิพพานอันประเสริฐที่สุด ด้วยคุณวิเศษ เหตุนั้น บารมีเหล่านั้นจึงชื่อว่า ปรมะ (ปรมตุถ.๔/๓/๕๗๐-๒)
�บารมี ๓ ระดับ
บารมีเหล่านี้ท่านกล่าวว่าหากจะบําเพ็ญให้บริบูรณ์ดุจพระโพธิสัตว์จะต้องบําเพ็ญให้ครบ ๓ ระดับ คือ
[list=1]
  • บารมี ระดับสามัญ เช่น ทานบารมี ได้แก่ การให้ทรัพย์สินเงินทอง สมบัตินอกกาย และศีลบารมี ได้แก่ การละเว้นทุจริตต่างๆ เป็นต้น[/*]
  • อุปบารมี ระดับรอง หรือจวนจะสูงสุด เช่น ทานอุปบารมี ได้แก่ การสละอวัยวะเป็นทาน และ ศีลอุปบารมี ได้แก่ การยอมสละอวัยวะส่วนหนึ่งส่วนใดไป เพื่อรักษาศีล เป็นต้น[/*]
  • ปรมัตถบารมี ระดับสูงสุด เช่น ทานปรมัตถบารมี ได้แก่ การสละชีวิต เพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น และศีลปรมัตถบารมี ได้แก่ การยอมสละแม้ชีวิต เพื่อรักษาศีลไว้ เป็นต้น[/*]
เมื่อบําเพ็ญทั้ง ๑๐ บารมี ครบ ๓ ระดับนี้ เรียกว่า สมสปารมี หรือ สมดึงสบารมี แปลว่า บารมี ๓๐ ถ้วน คือ บารมี ๑๐ มี ๓ ระดับ = ๓๐
ลักษณะของบารมี
บารมีทั้ง ๑๐ นี้ มีการอนุเคราะห์ผู้อื่น เป็นลักษณะ, มีการทําอุปการะแก่ผู้อื่น หรือ มีความไม่หวั่นไหว เป็นหน้าที่, มีการแสวงหาสิ่งที่เป็นประโยชน์ หรือ มีความเป็นพระพุทธเจ้า เป็นผล, มีมหากรุณา หรือมีความ ฉลาดในอุบายแห่งกรุณา เป็นเหตุใกล้ให้เกิด
ทานบารมี มีการบริจาคเป็นลักษณะ มีการกําจัดความโลภในไทยธรรมเป็นหน้าที่ มีภวสมบัติและ วิภวสมบัติเป็นผล มีวัตถุอันควรบริจาคเป็นเหตุใกล้ให้เกิด, ศีลบารมี มีการละเว้นเป็นลักษณะ หรือมีการ สมาทาน หรือมีการตั้งมั่นเป็นลักษณะ มีการกําจัดความเป็นผู้ทุศีล หรือมีความไม่มีโทษเป็นหน้าที่ มีความสะอาดเป็นผล มีหิริโอตตัปปะเป็นเหตุใกล้ให้เกิด, เนกขัมมบารมี มีการออกจากกามและความมีโชคเป็น อักษะ มีการประกาศประกาศโทษของกามนั้นเป็นหน้าที่ มีการหันหลังจากโทษนั้นเป็นผล มีความสังเวค เป็นเหตุใกล้ให้เกิด, ปัญญาบารมี มีการรู้แจ้งแทงตลอดตามสภาวธรรม หรือมีการรู้แจ้งแทงตลอดโดยไม่ผิดพลาดเป็นลักษณะ มีแสงสว่างตามวิสัยเป็นหน้าที่ มีความไม่หลงเป็นผล มีสมาธิ หรืออริยสัจ ๔ เหตุใกล้ให้เกิด, วิริยบารมี มีอุตสาหะเป็นลักษณะมีการอุปถัมภ์เป็นหน้าที่มีการไม่จมเป็นผล มีวัตถุปรารภ ความเพียร หรือมีความสังเวคเป็นเหตุใกล้ให้เกิด, ขันติบารมี มีความอดทนเป็นลักษณะ มีความอดกลั้น สิ่งที่น่าปรารถนาและไม่น่าปรารถนาเป็นหน้าที่ มีความอดกลั้น หรือมีความไม่โกรธเป็นผล มีการเห็นตาม ความจริงเป็นเหตุใกล้ให้เกิด, สัจจบารมี มีการไม่พูดผิดเป็นลักษณะ มีการประกาศตามความเป็นจริงเป็น หน้าที่ มีความชื้นใจเป็นผล มีความสงบเสงี่ยมเป็นเหตุใกล้, อธิษฐานบารมี มีความตั้งใจในโพธิสมภาร เป็นลักษณะ มีการครอบงําสิ่งเป็นปฏิปักษ์ของโพธิสมภารเหล่านั้นเป็นหน้าที่ มีความไม่หวั่นไหวในการ ครอบงำสิ่งเป็นปฏิปักษ์เป็นผล มีโพธิสมภารเป็นเหตุใกล้, เมตตาบารมี มีความเป็นไปแห่งอาการเป็น ประโยชน์เป็นลักษณะมีการนําประโยชน์เข้าไปหรือมีการกําจัดความอาฆาตเป็นหน้าที่ มีความสุภาพเป็นผล มีการเห็นสัตว์ทั้งหลายเป็นที่พอใจเป็นเหตุใกล้, อุเบกขาบารมี มีความเป็นไปโดยอาการที่เป็นกลางเป็น อักษะ มีความเห็นเสมอกันเป็นหน้าที่ มีการสงบความเคียดแค้นและความเสื่อมเป็นผล มีการพิจารณา ความที่สัตว์มีกรรมเป็นของตนเป็นเหตุใกล้ให้เกิด (ปรมตุถ.๗/๓/๕๓๘-๙)
บรรลุนิพพาน บรรลุธรรม ดวงตาเห็นธรรม ประจักษ์แจ้งพระนิพพาน มรรคผลนิพพานมีจริงอนุปุพพิกถา ๕ และ อริยสัจ ๔ การศึกษาตามลำดับลุ่มลึกลงสู่การพ้นทุกข์๖ ขั้นตอนสู่การบรรลุนิพพาน-guidelineนิพพานธาตุโพชฌงค์อายตนะขันธ์โพธิปักขิยธรรมสังโยชน์ไตรลักษณ์ปฏิจจสมุปบาทอินทรีย์อริยสัจ ๔กรรมวัฏฏะวิวัฏฏะมหาสุญญตาสูตรอรูปพรหมภูมิ ๔รูปพรหมภูมิ ๑๖อบายภูมิ ๔ – เดรัจฉานภูมิอบายภูมิ ๔ – อสุรกายภูมิอบายภูมิ ๔ – เปตภูมิอบายภูมิ ๔ – นรกภูมิกามสุคติภูมิ ๗ – สวรรค์ ๖ภพภูมิของสัตว์โลก ๓๑ ภูมิวัฏสงสาร สังสารวัฏ สงสารวัฏวิสุทธิ ๗มัคคสมังคี มรรคสมังคีบันได ๑๐ ขั้น สู่อรหันต์สติปัฏฐาน ๔วิปัสสนากัมมัฏฐานสมถกัมมัฏฐาน[url=https://www.nirvanattain.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B3/%E0%B8%A7%E0%B8%B